กระทบเป็นลูกโซ่หรือไม่กับสังคมโลก
กระทบเป็นลูกโซ่หรือไม่กับสังคมโลก ในการเลือกตั้งทั่ว ๆ ไปนั้นกำหนดของมาเลเซีย นั้นกำลังจะเกิดขึ้นในไม่ช้าภายในอนาคตอันใกล้นี้ จะมีผลต่อจุดยืนและการขับเคลื่อนนโยบายต่างประเทศของมาเลเซียมากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะในมิติที่เกี่ยวข้องกับเมียนมา นายกรัฐมนตรีอิสมาอิล ซาบรี ยาค็อบ ผู้นำมาเลเซีย ประกาศยุบสภา เมื่อวันที่ 10 ต.ค. ที่ผ่านมา ปูทางสู่การเลือกตั้งทั่วไป ที่คาดว่าจะจัดขึ้นในช่วงต้นเดือน พ.ย.นี้
โดยการเลือกตั้งทั่วไปนั้นนก็จะเป็นการนำพาประเทศกล้าวไปสู่การเมืองที่ดีขึ้นของมาเลเซียหลังจากช่วงเวลาที่ไม่แน่นอน ซึ่งเกิดการล่มสลายของรัฐบาลผสม 2 ชุด และการเข้าประจำตำแหน่งของนายกรัฐมนตรี 3 คน ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2563 แต่การเลือกตั้งที่ใกล้เข้ามานั้น อาจส่งผลกระทบต่อเนื่องในระดับภูมิภาคด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะเรื่องนโยบายของมาเลเซียที่มีต่อเมียนมา
ทางด้านคุณ นายไซฟุดดิน อับดุลเลาะห์ รมว.การต่างประเทศมาเลเซีย นั้นได้ออกมากล่าวว่าตอนนี้ กำลังเป็นผู้นำการดำเนินแนวทางของมาเลเซียต่อวิกฤติเมียนมา เมื่อกองทัพเข้ายึดอำนาจเมื่อเดือน ก.พ. 2564 โค่นอำนาจรัฐบาลพลเรือนของนางออง ซาน ซูจี โดยนับตั้งแต่ที่เขาเข้ารับตำแหน่งในเดือน ส.ค. ปีที่แล้ว นายไซฟุดดินกลายเป็นทูตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งน่าจะกระตือรือร้นมากที่สุดต่อวิกฤติการณ์ในเมียนมา และเขายังกระตุ้นสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) หลายครั้ง ให้มีการจัดทำแนวทางที่สมจริงมากขึ้นสำหรับวิกฤติดังกล่าวอีกด้วย
เท่านั้นยังไม่พอยังได้ทำการตั้งคำถามว่า แผนฉันทามติ 5 ข้อ ของอาเซียนสามารถเป็นไปได้หรือไม่ นอกจากนี้ นายไซฟุดดินเป็น รมว.การต่างประเทศในอาเซียนเพียงคนเดียว ซึ่งพบปะอย่างเปิดเผย กับสมาชิกของรัฐบาลแห่งชาติ (เอ็นยูจี) ซึ่งเป็นองค์กรการเมืองของฝ่ายต่อต้านรัฐบาลทหารเมียนมา และเขายังเรียกร้องให้ประเทศพันธมิตรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปฏิบัติตาม
แหล่งที่มาของข่าวต่างประเทศ dailynews